แชร์

ประโยชน์ของการตรวจ HPV ระบุสายพันธุ์ HPV 14 สายพันธุ์เสี่ยงสูง

อัพเดทล่าสุด: 1 ก.ค. 2024
229 ผู้เข้าชม
  • เป็นประโยชน์ในการตรวจติดตามการรักษาผู้ที่เคยติดเชื้อแล้วตรวจพบไวรัส HPV ว่าร่างกายสามารถกำจัดเชื้อได้ (Clearance) หรือยังคงติดเชื้อซ้ำ HPV สายพันธุ์เดิมไม่สามารถกำจัดได้ (Persistence) ซึ่งการติดเชื้อซ้ำนี้มีโอกาสเพิ่มการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ 
  • สามารถบอกถึงภาวะติดเชื้อร่วมหลายสายพันธุ์ (Co-infection) ได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ตรวจข้อมูลสายพันธุ์ของเชื้อ HPV ส
  • ามารถมีข้อมูลเลือกวัคซีนที่เหมาะสมในการป้องกันได้ สามารถเก็บข้อมูลระบาดวิทยาของ HPV แต่ละสายพันธุ์ได้ 
  • ทราบข้อมูลทั้งก่อนและหลังการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากการตรวจแบบแยกระบุสายพันธุ์ได้ ตรวจครอบคลุม HPV ความเสี่ยงสูงที่มีในวัคซีนชนิด 9 สายพันธุ์ ที่มีประสิทธิภาพครอบคลุมป้องกันมะเร็งมากที่สุดในปัจจุบัน

บทความที่เกี่ยวข้อง
ตรวจสุขภาพประจำปี ดีอย่างไร??
การตรวจสุขภาพประจำปี คือ การตรวจอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ เพื่อหาความเสี่ยง และความผิดปกติที่อาจจะนำไปสู่โรคร้ายในอนาคตได้ เช่น ตรวจหาความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ตรวจหาระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ ตรวจการทำงานของไต ตรวจการทำงานของตับ เป็นต้นซึ่งทุกคนมีสิทธิ์เป็นโรคร้ายแรงกันตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต เพราะบางโรคจะแสดงอาการก็ต่อเมื่อป่วยเป็นระยะสุดท้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้แล้วนั่นเอง
เทคโนโลยีการตรวจมะเร็งเต้านมระดับยีน
มะเร็งเต้านมจากข้อมูลสถิติในปี 2558 ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งเต้านมทั่วโลกโดยเฉลี่ยประมาณ 6,255,000 ราย และในทุกๆ 1 นาที จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเต้านม 1 ราย นั่นเป็นเพราะผู้หญิงมักเข้าใจว่าเป็นมะเร็งเต้านมต้อง..คลำพบก้อน! ทั้งที่จริงๆ แล้ว ก้อนที่เต้านมอาจไม่ใช่เซลล์มะเร็งเสมอไป นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมการตรวจคัดกรองมะเร็งถึงสำคัญ เพราะการคลำเต้านมเองอาจไม่ใช่วิธีการค้นหาเซลล์มะเร็งที่ดีที่สุด!
สูดฝุ่น PM 2.5 เรื้อรัง กระตุ้นกลายพันธุ์ยีนส์ EGFR-KRAS เสี่ยงมะเร็งปอด!
สูดฝุ่น PM 2.5 เรื้อรัง กระตุ้นกลายพันธุ์ยีนส์ EGFR-KRAS เสี่ยงมะเร็งปอดมลภาวะทางอากาศอย่างฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 กำลังทวีความรุนแรงและกลายมาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดมะเร็งปอด ซึ่งในปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจาก PM2.5 แล้วกว่า 71,184 ราย (สูงเป็นอันดับสามของอาเซียนรองจากอินโดนีเซียและเวียดนาม)
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy